วันพุธที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทิน ครั้งที่  11


วันที่ 24 เดือน ตุลาคม  พ.ศ.2557
กลุ่มเรียน104  เวลา 13.00-16.40 น.



กิจกรรมวันนี้

วันนี้เพื่อนนำเสนอของเล่นเกียวกับวิทยาศตร์  ดังนี้

1.จรวดจากหลอด

2.รถของเล่น

3.โย่นไข่ไม่แตก

4.ไหมพรมเต้นระบำ

5.ปลาตากลม

6.กระป๋องโยกเยก

7.ป๋องแป๋ง

8.โมบายสายรุ้ง

9.แก้วกระโดด

10.นักประดาน้ำ

11.ฟองสบุ่

12.ขวดน้ำหนังพลาสติก

13.กบกระโดด

14.จรวดจากหลอดกาแฟ

15.บูมเมแรง

16.รถหลอดได้

17.กระป๋องผิวปาก

18.จั่กจั่น

19.ปืนยิงลูกบอล

20.ธนูจากไม้ไอศกรีม

21.กลองแขก

22.ประทัดกระดาษ

23.ตู๊กตาล้มลุก

24.รถล้อเดียว

25.รถเป่าลม

26.เรื่อโจรสลัด

27.กังหัน

28.เรือใบ

29.ทะเลในขวด

30.ไก่กระต๊าก

31.แท่นยิง

32.แก้วส่งเสียง

33.เขาวงกต

34.หนูวิ่ง

35.กงจักร



ความรู้ที่ได้รับ

อากาศ คือ  ส่วนผสมของก๊าซต่างๆ และไอน้ำซึ่งส่วนใหญ่ได้แก่  ก๊าซไนโตรเจนและก๊าซออกซิเจน นอกนั้นเป็นก๊าซอื่นๆ  ซึ่งมีอยู่จำนวนน้อย  อากาศมีอยู่รอบๆ ตัวเราทุกที่

แรงลม คือ  อากาศที่เคลื่อนที่ในทิศทางแนวราบ

แรงดัน คือ  แรงที่ตั้งฉากซึ่งทำโดยของแข็งของเหลวและแก๊ซต่อหนึ่งหน่วยพื้นที่

แรงและการเคลื่อนที่  คือ  สิ่งที่สามารถทำให้วัตถุที่อยุ่นิ่งเคลื่อนที่หรือทำให้วัตถุเคลื่อนที่มีความเร็วเพิ่มขึ้นหรือช้าลง  หรือทิศทางการเคลื่อนที่ของวัตถุได้



      


การประเมินผล

ประเมินตัวเอง

     ตั้งใจดูสื่อการสอนต่างๆที่เพื่อนนำเสนอ

ประเมินเพื่อน

     เพื่อนๆตั้งใจฟังฟังเพื่อนนำเสนอหน้าห้องเรียน และร่วมกันแสดงความคิดเห็น

ประเมินอาจารย์

อาจารย์แนะนำสื่อของเพื่อนแต่ระอันที่ไม่สมบุณร์หรือไม่เหมาะที่จะนำไปให้เด็กๆเล่น
บันทึกอนุทิน ครั้งที่  10


วันที่ 18 เดือน ตุลาคม   พ.ศ.2557
กลุ่มเรียน104  เวลา 13.00-16.40 น.

ความรู้ที่ได้รับ ในการเรียนชดเชยครั้วนี้ได้รู้จักการเรียนหัวข้อให้ถูกต้อง



การประเมินผล

ประเมินตัวเอง


     ตั้งใจดูตัวอย่างเวลาอาจารย์สอนเฃียนแนเพราะยัไม่ค่อยเข้าใจและตั้งใจฟังเวลาที่อาจารย์แนะนำและอธิบายให้ฟัง


ประเมินเพื่อน


     เพื่อนๆตั้งใจฟังอาจารย์เวลาอาจารย์อธิบายและเพื่อนๆร่วมกันแสดงความคิดเห็นและมีการจดบันทึกแนวทางการเขียนแผนการสอน
ที่อาจารย์ยกตัวอย่าง







บันทึกอนุทิน ครั้งที่  9


วันที่ 17 เดือน ตุลาคม  พ.ศ.2557
กลุ่มเรียน104  เวลา 13.00-16.40 น.



ความรู้ที่ได้รับ

การประเมินผล

ประเมินตัวเอง

     ตั้งใจดูตัวอย่างเวลาอาจารย์สอนเฃียนแนเพราะยัไม่ค่อยเข้าใจและตั้งใจฟังเวลาที่อาจารย์แนะนำและอธิบายให้ฟัง

ประเมินเพื่อน

     เพื่อนๆตั้งใจฟังอาจารย์เวลาอาจารย์อธิบายและเพื่อนๆร่วมกันแสดงความคิดเห็นและมีการจดบันทึกแนวทางการเขียนแผนการสอนที่อาจารย์ยกตัวอย่าง






บันทึกอนุทิน ครั้งที่  8



วันที่ 10 เดือน ตุลาคม  พ.ศ.2557
กลุ่มเรียน104  เวลา 13.00-16.40 น.



วันนี้ไม่มีการเรียนการสอน  เป็นสัปดาห์แห่งสอบกลางภาค






บันทึกอนุทิน  ครั้งที่ 7


วันที่ 3 เดือน ตุลาคม พ.ศ.2557
กลุ่มเรียน104  เวลา 13.00 - 16.40 น.



               
      วันนี้อาจารย์ให้นักศึกษาทำกิจกรรมทำสิ่งประดิษฐ์ในห้องเรียน " กังหันมหัศจรรย์ "

อุปกรณ์

1.กระดาษ                                                              
2.กรรไกร
3.คลิปหนีบกระดาษ


วิธีการทำ

-พับกระดาษที่อาจารย์เตรียมไว้ให้ พับครึ่งให้เท่ากัน
-จากนั้นคลี่กระดาษออก แล้วนำกรรไกรตัดกระดาษตามแนวยาวถึงที่พับครึ่ง
-แล้วพับกระดาษแถบที่ไม่ได้ตัดเข้าไปนิดนึง
-นำคลิปหนีบกระดาษมาติด

    เมื่อทำเสร็จแล้วอาจารย์ให้นักศึกษาออกมานำเสนอผลงานที่ตัวเองทำว่าเป็นอย่างไร โดยให้โยนขึ้นไปบนอากาศแล้วสังเกตการเปลี่ยนแปลงของกังหัน โดยที่แถวที่1-3 ตัดกระดาษให้ถึงกึ่งกลางที่พับไว้ แต่แถวที่4-5 ตัดกระดาษไม่ต้องถึงกึ่งกลาง แล้วออกมาโยนหน้าชั้นเรียนแล้วให้สังเกตการเปลี่ยนแปลงของแต่ละแถวเมื่อดิฉันได้สังเกต พบว่า แถวที่ตัดกระดาษถึงครึ่งนั้น เมื่อโยนขึ้นไปในอากาศสิ่งที่เห็นคือเมื่อเวลากังหันตกลงมาจะเป็นเกลียวหมุนๆลงมาถึงพื้น แต่เมื่อดิฉันสังเกตแถวที่ตัดกระดาษไม่ถึงครึ่งนั้น พบว่า เมื่อโยนกังหันขึ้นไปในอากาศ จะเห็นว่าเมื่อเวลากังหันตกลงมาจะไม่ค่อยหมุนเป็นรูปเกลียว
เพราะว่าแถวที่ตัดกระดาษถึงครึ่งนั้นเมื่อเวลาโยนไปในอากาศแล้วหล่นลงมาจะเกิดอากาศดันใต้กระดาษ ทำให้เวลาหล่นลงมาอากาศจะดันทำให้หมุนเป็นเกลียวๆ


ประยุกต์ใช้อย่างไร


-สามารถความรู้ที่ได้จากสิ่งประดิษฐ์ไปสอนเด็กปฐมวัยได้ เพื่อให้เด็กได้ฝึกทักษะการสังเกต
-สามารถนำกิจกรรมที่ทำในวันนี้คือ สิ่งประดิษฐ์ กังหันมหัศจรรย์ ไปสอนเด็กให้ประดิษฐ์ขึ้นมาใหม่ได้ด้วยตัวของเด็กเอง เพื่อให้เด็กได้ใช้ประสาทสัมผัสทั้งห้า ในการลงมือกระทำด้วยตนเอง เด็กจะเกิดการเรียนรู้ที่หลากหลานและเกิดความคิดรวบยอดรวมทั้งพัฒนาลำดับขั้นความคิดของเด็กได้อีกด้วย
-สามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในการสอนในอนาคตได้เป้นอย่า่งดี-สามารถนำสิ่งประดิษฐ์ที่ได้เรียนในวันไปจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ มุมวิทยาศาสตร์ ให้กีบเด็กปฐมวัยได้


ประเมินตนเอง

ตั้งใจทำสิ่งประดิษฐ์และสังเกตถึงการเปลี่ยนแปลง กิจกรรมที่เราทำ

ประเมินเพื่อน

เพื่อนตั้งใจฟังเพื่อนที่ออกมานำเสนอบทความและตั้งใจฟังอาจารย์อธิบายถึงหัวข้อในหน่วยการเรียนรู้
และก็ต่างคนต่างตั้งใจทำกิจกรรม

ประเมินอาจารย์

 อาจารย์สรุปบทความของเพื่อนได้ดี ทำให้มีความเข้าใจมากขึ้น และสรุปถึงการคิดหัวข้อในหน่วยการเรียนต่างๆได้ดี



วันพฤหัสบดีที่ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทิน

บันทึกอนุทิน  ครั้งที่ 6


วันที่ 26 เดือน กันยายน   พ.ศ.2557

กลุ่มเรียน104  เวลา 13.00-16.40 น.



กิจกรรม อาจารญ์ให้ทำกิจกรรม โดยมีอุปกรณ์ มีดังนี้


1.กระดาษ
2.กรรไกร
3.กิ๊บหนีบกระดาษ

วิธีการทำ

-พับกระดาษที่ตรงกลาง

-พับกระดาษตรงปลาย

-พับกระดาษตรงปลายแล้วตัดปลายเล็กน้อย

-จากนั้นพับกระดาษแถบที่ไม่ได้ตัดเข้าไปนิดหน่อยและนำคลิปหนีบกระดาษ

    

ประยุกต์ใช้อย่างไร


-สามารถความรู้ที่ได้จากกิจกรรมร่วมกับเพื่อนๆในห้องเรียนไปลองเล่นกับเด็กและให้เด็กๆลองทำเล่นได้



ประเมินตนเอง 

ตั้งใจทำสิ่งประดิษฐ์ทำกิจกรรมมีการจดบันทึกในระหว่างอาจารย์สอนและสังเกตถึงการเปลี่ยนแปลง กิจกรรมที่เราทำ

ประเมินเพื่อน 

เพื่อนตั้งใจฟังอาจารย์สอนและให้ความร่วมมือกับกิจกรรมที่อาจารย์ให้ทำเป็นอย่างดี

ประเมินอาจารย์

 วันนี้อาจารย์มีการเตียมการสอนสื่่อมาให้นักศึกษาได้ทำและเป็นสื่อที่ง่ายไม่ซับซ้อนต่อการทำขอเด็ก







บันทึกอนุทิน

บันทึกอนุทิน ครั้งที่  5

วันที่ 19 เดือน กันยายน   พ.ศ.2557

กลุ่มเรียน104  เวลา 13.00-16.40 น.







    อาจารย์ให้นักศึกษาประดิษฐ์ชิ้นงาน ที่อาจารย์ได้นำเอามาให้ แล้วให้นักศึกษาลองส่องดูว่าเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไรและอาจารย์ก็มีกิจกรรมให้นักศึกษาก่อนการนำเข้าสู่บทเรียนในต่อไป


อุปกรณ์


1.กระดาษ A4 สีชมพู
2.กรรไกร
3.สีเมจิก
4.ไม้เสียบลูกชิ้น
5.กาว


ขั้นตอนการทำ


1. นำกระดาษ A4 มาแบ่งกันให้ได้ 4 ส่วน
2.แล้ววาดภาพที่สัมพันธ์กัน
3.เสร็จแล้วนำไม้เสียบลูกชิ้นมาติดกับกาว ไว้ตรงกึ่งกลาง
4. ลองหมุนสลับไปมา



สรุปการทำกิจกรรม
   
    
     จากการที่เราได้ทำกิจกรรม ทำให้รู้ว่าเพียงแค่สิ่งเล็กที่เราไม่คิดว่าจะทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงได้ ก็สามารถที่จะทำให้เราได้รู้ว่าสิ่งประดิษฐ์ที่ทำขึ้นมา ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในขณะที่เราหมุนมัน เช่น ภาพปลากับภาพสระน้ำ เมื่อลองหมุนดูแล้วมันจะเกิดการเปลี่ยนแปลงและเราสามารถเห็นเป็นปลาอยู่ในสระน้ำ ซึ่งวิธีการทำนั้นง่ายเพียงนิดเดียวก็ทำให้เกิดงานประดิษฐ์ที่แปลกใหม่ได้



การนำไปประยุกต์ใช้


   ความรู้ที่ได้จากการทำกิจกรรมร่วมกับเพื่อนๆ และสามารถนำไปบอกเพื่อนๆคนอื่นๆ หรือเด็กๆ ได้ว่า การที่เราหมุนวัตถุเร็วๆ จะทำให้เกิดภาพที่มาซ้อนกันได้ และ ได้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เด็กๆต้องเรียนอย่างเป็นขั้นตอน และได้ลงมือเอง จึงจะส่งผลต่อการเรียนรู้ในระยะยาว


ประเมินตนเอง


   สนใจในการทำกิจกรรมร่วมกับเพื่อนๆ ตั่งแต่ขั้นตอนที่ให้วาดรูป สงสัยว่าอาจารย์จะให้ทำอะไร วาดรูปกับวิทยาศาสตร์ วิธีไหน แล้วสุดท้ายก็ได้รู้ หลังทำกิจกรรมเสร็จ
และในข้อมูลเนื้อหาการเรียนการสอน ก็ได้จดบันทึกการเรียนการสอนไว้ 


ประเมินเพื่อน:


   เพื่อนตั้งใจฟังเพื่อนที่ออกมานำเสนอบทความได้เป็นอย่างดี และร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน คือ การตอบคำถามเกี่ยวกับบทความที่ฟังและแสดงความคิดเห็นเมื่ออาจารย์ถามคำถาม รวมทั้งตั้งใจจดบันทึกในสิ่งที่อาจารย์เพิ่มเติม


ประเมินอาจารย์:

  
   อาจารย์สรุปบทความที่ดิฉันและเพื่อนออกมานำเสนอได้เป็นอย่างดี ทำให้มีความเข้าใจมากขึ้นเกี่ยวกับบทความ และอาจารย์ยังมีกิจกรรมที่ประดิษฐ์ชิ้นงานมาให้นักศึกษาทำ ทำให้การเรียนในวันนี้มีความสุขและสนุกสนานคะ




บันทึกอนุทิน

บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 4



วันที่ 12 เดือน กันยายน   พ.ศ.2557

กลุ่มเรียน104  เวลา 13.00-16.40 น.









การนำไปประยุกต์ใช้



       นำความรู้ที่ได้ในวันนี้ ไปสร้างเสริมประสบการณ์และจัดสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมกับการเรียนรู้ของเด็กๆ และเน้นให้เด็กได้ลงมืิอทดลอง เรียนรู้และ ค้นพบสิ่งต่างๆด้วยตนอง และสิ่งสำคัยคือ ไม่ปิดกั้นความเข้าใจ จินตนาการ และ ความคิดสร้างสรรค์ของเด็กๆ




ประเมินตนอง



     ตั้งใจฟังที่อาจารบรรยาย และ การถาม-ตอบกับนักศึกษา และก็มีส่วนร่วมในการตอบคำถามด้วย และก็ได้จดบันทึกการเรียนการสอนในชั่วโมงเรียนนั้นด้วย




ประเมินเพื่อน



    เพื่อนๆก็ช่วยกันคิดหาคำตอบ จากที่อาจารย์ส่งคำถามมาให้นักศึกษาตอบ  แต่เพื่อนๆบางคนก็มีการจดบันทึกในการเรียนการสอนไว้ แต่ก็มีเพื่อนบางคน บางกลุ่ม ที่พูดคุยกันบ้าง




ประเมินอาจารย์



    ใช้การตั้งคำถาม-ตอบคำถาม กับนักศึกษา และอธิบายเนื้อหาพร้อมยกตัวอย่างประกอบได้ดี และ เนื้อหา/ข้อมูลชัดเจน











บันทึกอนุทิน

บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 3

วันที่ 5 เดือน กันยายน   พ.ศ.2557

 กลุ่มเรียน104  เวลา 13.00-16.40 น









การนำไปประยุกต์ใช้

     
     สามารถนำความรู้ที่ได้ไปให้กับเด็กปฐมวัยในอนาคตได้โดยเฉพาะวิชาวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยเช่า  สัตย์  ธรรมชาติ  เมื่อเด็กมีคำถาม ข้อสงสัย หรือจินตนาการ เราไม่ควรที่จะไปปิดกั้นพัฒนาการ หรือความคิดของเด็กในช่วง นั้นๆ ควรเปิดดอกาสให้เด็กๆได้ใช้จินตนาการ ของตัวเด้กเองได้อย่างเต็มที่และเหมาะสม ซึ่งเราอาจจะช่วยในการแนะนำและส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์และพัฒนาการของเขาต่อไปในทางที่ดี เหมาะสม และถูกต้อง 



ประเมินตนเอง


     ตั้งใจฟังเพื่อนที่ออกมานำเสนอบทความหน้าชั้นเรียน และก็ได้จดบันทึกการเรียนการสอน ที่อาจารย์ได้สอน 


ประเมินเพื่อน


      มีทั้งคนที่ต้งใจฟังอาจารย์ ตั้งใจฟังเพื่อนที่มานำเสนอบทความของตนเอง และก้มีทั้งคนที่ไม่ค่อยสนใจการเรียนนัก ชอบชวนกันพูดคุย


ประเมินอาจารย์


      อาจารย์สอนและอธิบายได้ดี ในหัวข้อไหนที่นักศึกษาไม่เข้าใจ อาจารย์ก็จะอธิบายให้ฟังพร้อมยกตัวอย่างประกอบ ทำให้เห็นตัวอย่างที่ชัดเจน และเข้าใจมากขึ้น






บันทึกอนุทิน

บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 2



วันที่29 เดือน สิงหาคม   พ.ศ.2557

กลุ่มเรียน104  เวลา 13.00-16.40 น.



     วันนี้ไม่มีการเรียนการสอน เนื่องจากเป็นกิจกรรมรับน้องใหญ่ ของมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม








บันทึกอนุทิน

  บันทึกอนุทิน ครั้งที่1   



วันที่22เดือนสิงหาคม   พ.ศ.2557

ครั้งที่1 กลุ่มเรียน104  เวลา 13.00-16.40 น.




กิจกรรมในวันนี้


        

       วันนี้เป็นสัปดาห์แรกของการเรียนการสอนของวิชาการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย โดยอาจารย์ได้แจก  Course Syllabus ให้กับนักศึกษาทุกคน เพื่อจะได้ทราบถึงการเรียน และเนื้อหากิจกรรมในแต่ละสัปดาห์ เพื่อผู้เรียนจะได้ไปศึกษาข้อมูลล่วงหน้ากันมาก่อนเข้าเรียน และอาจารย์ได้กลงเ51องกฏและกติกาใน ความเรียบร้อย และการแต่งตัว การส่งงาน และให้มีความรับผิดชอบ และความซื่อสัตย์ โดยก่อนจบการเรียนอาจารย์ได้มอบหมายให้นักศึกษาทุกคน ไปสร้างบล็อก ของตัวเอง เพื่อที่จะได้เก็บงานไว้ในบล็อก 



สิ่งที่ได้รับ

     เนื่องจากวันนี้เป็นการเรียนการสอนคาบของวิชาการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย  อาจารย์เลยได้อธิบายความหมาย ความสำคัญของทฤษฏิ    
และหลักการวิทยาศาสตร์ต่างๆ 



ข้อตกลงในการเรียน


  1.คุณธรรม จริยธรรม
  2.ด้านความรู้:หลัการ เเนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับทักษะทางวิทยาศาสตร์
  3.ด้านทักษะทางปัญญา
  4.ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ:คณติศาสตร์+ภาษา
  5.ด้านการจัดการเรียนรู้(การจัดประสบการณ์):การวางแผนการทำกิจกรรมต่างๆโดยการปฎิบัติเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ ทำให้เด็กเกิดประสบการณ์การเรียนรู้เพื่อไปพัฒนาไปเป็นความรู้

และอาจารย์ได้อธิบายเเผนการจัดการเรียนรู้ในแต่ละสัปดาห์ที่เราจะต้องเรียนและอาจารย์ก็ยังได้อธิบายการสร้างบล็อกควรมีอะไรลงไปในบล็อกบ้าง
  


ประเมินตนเอง


       ตั้งใจฟังกฏและกติกาที่อาจารย์ได้อธิบายและทำการตกลงร่วมกันกับเพื่อนๆ
 และได้จดบันทึกกฏ กติกา ของการเรียนการสอนที่อาจารย์ได้สอน ในห้องเรียน


ประเมินเพื่อน


      เพื่อนๆส่วนใหญ่ตั้งใจฟังสิ่งที่อาจารย์อธิบาย  และไไได้ร่วมกันตอบคำถาม แต่ก็มีเพื่อนบางกลุ่ม บางคน ที่พูดคุยกันอยู่ การเรียนการสอนในวันนี้คือ การจดในสิ่งที่อาจารย์กับเพื่อนนักศึกษาตกลงร่วมกันในชั้นเรียน และให้ความร่วมมือการเรียนการสอนในชั่วโมงนี้เป็นอย่างดี


ประเมินอาจารย์


        อาจารย์ได้อธิบายถึงกฏ กติกา และทำข้อตกลงกับนักศึกษาได้ชัดเจน และเข้าใจ และทำให้การเรียนการสอนน่าสนใจ